ทนายความ ทนาย สำนักงานทนายความ ปรึกษากฎหมาย ปรึกษาทนายความ ว่าจ้างทนายความ

ล้มละลาย

ล้มละลาย

ล้มละลาย  หลายคนฟังดูแล้วเกิดความกลัวก่อนว่า ในชีวิตคงไม่สามารถทำอะไรต่อไปได้แล้ว หมดสิ้นเนื้อประดาตัว แต่จริงๆแล้วกฎหมายยังมีทางออกให้ลูกหนี้  เจ้าหนี้  ไว้ให้แล้ว ตามพระราชบัญญัติ ล้มละลายฯ ซึ่งกฎหมายมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้ทันสมัยต่อเหตุการณ์ ซึ่ง สาระสำคัญของกฎหมายล้มละลาย กระผมขอกล่าวไว้เป็นหัวข้อคร่าวๆ เพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้สนใจดังนี้ 

ข้อสันนิฐานว่าลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว 

การฟ้องคดีล้มละลายโดยเจ้าหนี้ธรรมดา ,การฟ้องคดีล้มละลายโดยเจ้าหนี้มีประกัน,การถอนฟ้อง

การพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย ,การพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด,การพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว,ผลของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์

การจัดการทรัพย์สินและกิจการของลูกหนี้

จ.พ.ท.เข้าว่าคดีแทนลูกหนี้

เจ้าหนี้ต้องขอรับชำระหนี้

จ.พ.ท. ต้องประกาศคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์

การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก ,การประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น,เจ้าหนี้มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเจ้าหนี้,การเพิกถอนหรือทำลายมติที่ประชุมเจ้าหนี้

การไต่สวนลูกหนี้โดยเปิดเผย, การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย,

คำพิพากษาให้ล้มละลาย ,การประนอมหนี้ภายหลังล้มละลาย,การปลดจากล้มละลาย

กระบวนพิจารณากรณีลูกหนี้ตาย

กรณีลูกหนี้เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญและนิติบุคคล,การขอรับชำระหนี้,การขอรับชำระหนี้ตามมาตรา 109(3),115 และ 122 ,การขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้ผู้ชนะคดี จ.พ.ท.,การขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้ไม่ม่ีประกัน,มีประกัน,การขอรับชำระหนี้ดอกเบี้ยและค่าป่วยการ,การขอรับชำระหนี้ของลูกหนี้ร่วม ผู้ค้ำประกัน

เจ้าหนี้ใช้สิทธิหักลบกลบหนี้ ,การตรวจและการสั่งคำขอรับชำระหนี้ฯ,ทารัพย์สินซึ่งอาจนำมาชำระหนี้ได้,ผลของการล้มละลายกับการบังคับคดีแพ่ง,การเพิกถอนการฉ้อฉล,การเพิกถอนการให้เปรียบแก่เจ้าหนี้บางราย,

จ.พ.ท.ทวงหนี้ของลูกหนี้,จ.พ.ท.ปฎิเสธสัญญาที่มีภาระเกินควร,ลำดับการชำระหนี้,การปิดคดี,การยกเลิกการล้มละลาย,กิจการที่ จ.พ.ท.ต้องได้รับความเห็นชอบฯ,การร้องคัดค้านการกระทำของ จ.พ.ท.,เขตอำนาจศาล,ร้องขัดทรัพย์ในคดีล้มละลาย,การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้,พรบ.จัดตั้งศาลล้มละลาย

Visitors: 159,345
รับว่าความ ปรึกษากฎหมาย ปรึกษาคดีความ